วันอังคารที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2558

เอกสารอ้างอิง

เอกสารอ้างอิง

มานพ ตันตระบัณฑิตย์. (2545). วัสดุวิศวกรรม (พิมพ์ครั้งที่ 9).
กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
              
อ.สุวันชัย พงษ์สุกิจวัฒน์, รศ.ดร.กอบบุญ หล่อทองคำ, ดร.เอกสิทธิ์ นิสารัตนพร,
ดร.ธาชาย เหลืองวรานันท์, ดร.มาวิน สุประดิษฐ์ ณ อยุธยา, ดร.ปฐมา วิสุทธิพิทักษ์กุล. (2548). วัสดุศาสตร์และวิศวกรรมวัสดุพื้นฐาน (พิมพ์ครั้งที่ 1).
กรุงเทพฯ: บริษัท สำนักพิมพ์ท้อป จำกัด.

รศ.ดร.พิภพ สุนทรสมัย. (2543). วัสดุวิศวกรรมการก่อสร้าง (พิมพ์ครั้งที่ 8).
กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).

รองศาสตราจารย์มนตรี พิรุณเกษตร. (2548). กลศาสตร์ของวัสดุ (พิมพ์ครั้งที่ 1).
กรุงเทพฯ: บริษัทวิทยพัฒน์ จำกัด.

มานพ ตันตระบัณฑิตย์. (2546). งานทดสอบวัสดุอุตสาหกรรม (ฉบับปรับปรุง)
(พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).

รุ่งสุรีย์ ใจเขื่อนแก้ว. (2545). กลศาสตร์ของวัสดุ (พิมพ์ครั้งที่ 1).
กรุงเทพฯ: แมคกรอ-ฮิล.

ดร.เกรียงศักดิ์ อุดมสินโรจน์. (2540). กลศาสตร์ของวัสดุ (พิมพ์ครั้งที่ 1).
กรุงเทพฯ: มิตรนราการพิมพ์.

สุกิจ นามพิชญ์. (2541). ความแข็งของวัสดุ (พิมพ์ครั้งที่ 1).
กรุงเทพฯ: บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน).

ทักษิณ เทพชาตรี. (2555). พฤติกรรมและการออกแบบโครงสร้างเหล็ก (พิมพ์ครั้งที่ 3).
กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อุดมวิทย์ กาญจนวรงค์. (2545). การทดสอบวัสดุ (พิมพ์ครั้งที่ 1).
กรุงเทพฯ: สกายบุกส์.

อุดมวิทย์ กาญจนวรงค์. (2543). การทดสอบวัสดุ (แบบทำลาย) (พิมพ์ครั้งที่ 2).
กรุงเทพฯ: สกายบุกส์.

รศ.แม้น อมรสิทธิ์, รศ.ดร.สมชัย อัครทิวา, อ.ธรรมนูญ อุดมมั่น.. วัสดุวิศวกรรม
กรุงเทพฯ: แมคกรอ-ฮิล.

รศ.กวี หวังนิเวศน์กุล. (2552). วัสดุวิศวกรรมก่อสร้าง (พิมพ์ครั้งที่ 1).
กรุงเทพฯ: บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด(มหาชน).

ฝ่ายวิชาการบริษัท สกายบุกส์ จำกัด. (2544). วัสดุช่าง (พิมพ์ครั้งที่ 3).
กรุงเทพฯ: สกายบุกส์.

พงศ์พัน วรสุนทโรสถ, วรพงศ์ วรสุนทโรสถ. (2544). วัสดุก่อสร้าง (พิมพ์ครั้งที่ 1).
กรุงเทพฯ: บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด(มหาชน).

สอนการใช้งานโปรแกรม Corel VideoStudio Pro X8 เบื้องต้น.
เข้าถึงได้จาก : https://www.youtube.com/watch?v=9tQioB8UQBQ

การสร้างสื่อวีดีโอด้วยโปรแกรม Corel VideoStudio Pro X8
เข้าถึงได้จาก : https://www.google.co.th

พื้นฐานการใช้งานโปรแกรมช่วยสร้างงานมัลติมีเดีย
เข้าถึงได้จาก : http://www.krukittinankwc.org/home

การเริ่มใช้งานและองค์ประกอบของโปรแกรม

เข้าถึงได้จาก : http://www.kroojan.com/corel/page2.htm

บทนำ


ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
           ปัจจุบันการเรียนการสอน ไม่จำกัดอยู่เพียงห้องเรียนเท่านั้น ยังมีความรู้ การศึกษา ที่สามารถหาได้จากแหล่งความรู้ต่างๆใน Internet ทุกๆที่ทั่วทุกมุมโลก ดังนั้น เพื่อให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีในปัจจุบัน ที่จะนำความรู้ ที่มีอยู่ในห้องเรียน หรือในมหาวิทยาลัย เผยแพร่ไปยังสถานที่ต่างๆ ดังนั้น เพื่อให้ประโยชน์ในด้านการศึกษาจึงสนับสนุนให้มีการจัดทำสื่อการสอน ในรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และ Web Base e-learning ผ่านอินเตอร์เน็ต รวมถึงกระจายความรู้ที่ต่างๆ นอกเหนือจากห้องเรียนในมหาวิทยาลัย
โดยการจัดทำสื่อการสอน ในรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และ Web Base e-learning จากกล้อง VDO รวมถึงสามารถแสดงร่วมกับ สื่อการสอนที่สร้างโดยใช้  Power point แล้วนำสื่อต่างๆ เหล่านั้นมารวมกันและเผยแพร่ ทาง Intranet Internet CD ในรูปแบบ Web Page ทำให้คณาจารย์สามารถนำสื่อ ที่ใช้ในการสอน ในปัจจุบันที่มีอยู่แล้ว นำมาปรับและประยุกต์ให้กับเทคโนโลยี windows Media เพื่อใช้ในการสอนให้กับนักศึกษา และบุคคลทั่วไป และยังประโยชน์ให้กับนักศึกษาในการทบทวนบทเรียน หรือไม่สามารถเรียนในชั้นเรียนได้ ก็สามารถเรียนรู้ ได้ทันกับนักศึกษาในห้องเรียน
รายวิชาวัสดุวิศวกรรมโยธาและการทดสอบ รหัสวิชา 263315 (Civil Engineering Materials and testing) เป็นรายวิชาปฏิบัติการ การเรียนการสอนจะต้องมีการใช้เครื่องมือทำการทดสอบ ซึ่งหากนิสิตสามารถทำความเข้าใจก่อนเข้าเรียนจะสามารถทำการทดสอบได้อย่างคล่องแคล่วและไม่มีปัญหา หรือหากนิสิตไม่เข้าใจเนื้อหาที่อาจารย์ได้อธิบายสรุปก่อนทำการปฏิบัติ นิสิตสามารถเข้าไปทบทวนอีกครั้งก่อนลงมือปฏิบัติได้ ดังนั้น การจัดทำสื่อการเรียนการสอนที่เป็นรูปแบบเล็กทรอนิกส์แล้วจะทำให้การเรียนการสอนมีความสะดวกมากขึ้น สามารถทำให้เกิดความเข้าใจและเห็นภาพตัวอย่างก่อนลงมือปฏิบัติ ช่วยลดข้อผิดพลาดในการทำงาน และยังช่วยกระตุ้นให้การเรียนการสอนไม่น่าเบื่อ ทำให้การเรียนการสอนมีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้ที่สนใจศึกษาทางด้านการทดสอบวิศวกรรมโยธา เข้าถึงข้อมูลการเรียนรู้ได้ง่ายขึ้นและยังช่วยประชาสัมพันธ์คณะวิศวกรรมศาสตร์ม.พะเยา ได้อีกช่องทางหนึ่ง

วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1.  เพื่อใช้เป็นเครื่องมือช่วยสอนรายวิชาวัสดุวิศวกรรมโยธาและการทดสอบ
2.  เพื่อให้ผู้ศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะการใช้เครื่องมือในการทดสอบ และตรวจสอบคุณสมบัติพื้นฐานของวัสดุทางวิศวกรรมโยธา สามารถฝึกปฏิบัติได้ด้วยตนเอง
3. เพื่อกระตุ้นให้การเรียนการสอนรายวิชาวัสดุวิศวกรรมโยธาและการทดสอบน่าสนใจมากยิ่งขึ้น

นิยามศัพท์เฉพาะ
การจัดทำสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (VDO) เพื่อเป็นสื่อการสอน

ประโยชน์ที่จะได้รับจากการวิจัย
เพื่อให้ผู้ศึกษารู้และเข้าใจวิธีการใช้เครื่องมือในการทดสอบและรู้ถึงคุณสมบัติพื้นฐานของวัสดุทดสอบจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์
   1.       ได้วีดีโอช่วยสอนและเว็บไซต์ สำหรับการเรียนการสอนรายวิชาวัสดุวิศวกรรมและการทดสอบ
   2.       ทำให้ผู้ศึกษาสามารถนำสื่อดังกล่าวไปใช้ฝึกปฏิบัติและเกิดความเข้าใจในเวลาใดก็ได้ที่ผู้ศึกษาต้องการ
   3.       ทำให้การเรียนการสอนมีความน่าสนใจ ลดข้อผิดพลาดในการใช้เครื่องมือ ลดอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นจากการฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ
   4.       เป็นการประชาสัมพันธ์คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.พะเยา ในทางอ้อม


วันจันทร์ที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2558

การใช้งานเว็ปไซค์


1.ดับเบิลคลิกเข้าโปรแกรม Google Chrome


2.พิมพ์ทางช่อง url ว่า www.engineeringmaterialsproject.blogspot.com


3.คลิกในส่วนการทดลองที่ต้องที่ต้องการจะศึกษา


4.เมื่อคลิกแล้วจะเข้าสู่หน้าการทดลองนั้น


5.สามารถดูตัวอย่างการทดลองลองนั้นๆได้ผ่านทางวีดีโอ

อาจารย์ที่ปรึกษาในการจัดทำสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (VDO) เพื่อเป็นสื่อการสอน

ผู้สนับสนุนการจัดทำสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (VDO) เพื่อเป็นสื่อการสอน







ผู้จัดทำ



นายวรากร           อาจดำเกิงไกร        55103240
นายสันติภาพ        พงภมร                55103262
นายจิราวุฒิ          เยาวธานี              55101372
นางสาวชานิกา      เลิศศิริธง              55103116
นางสาวสุธาสินี      ธิศรี                    55103284